[ข่าวไอทีทั่วไป] ทำความรู้จักกับ 13 มัลแวร์ สยองเครื่องที่มาในรูปแบบโปรแกรมน่าใช้ แต่กลับมีไวรัสซ่อนอยู่
กลายเป็นที่โจนจักษ์กันมาก เกี่ยวกับประเด็นที่แก็งคอลได้หลอกเอาเงินจากเหยื่อด้วยการฝังโปรแกรมบ้างชนิดเข้าไปเพราะเมื่อไม่นานมาทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ร่วมมือกับทาง Kaspersky โดยมีการเปิดเผยว่า มีมัลแวร์ที่มีชื่อว่า Joker ซึ่งเป็นภัยอันตรายอีกทางหนึ่งที่น่าสนใจ วันนี้พวกเราจะสรุปให้คุณได้ฟังว่าทำไม มัลแวร์นี้อันตรายมาก
ก่อนอื่น เราทำการล่า รายชื่อ Apps ทั้งหมด 13 ที่เข้าข่ายมีดังนี้
- Classic Emoji Keyboard ตัวโปรแกรมหลอกเป็น Keyboard Emoji ไม่ต้องกดให้วุ่นๆ
- Battery Charging Animations Battery Wallpaper ตัวโปรแกรมApps นี้หลอกว่าจะแสดงผล Animation แบตเตอรี่ในหน้า Wallpaper
- Battery Charging Animations Bubble -Effects ตัวโปรแกรมคล้ายกับ Apps แรก
- Easy PDF Scanner ตัวโปรแกรมโปรแกรมสแกน PDF คาดว่าจะต้องกดซื้อเพื่อให้สแกนได้แบบไม่มีลายน้ำ
- Dazzling Keyboard ตัวโปรแกรมโปรแกรม Keyboard
- Halloween Coloring ตัวโปรแกรมTheme เครื่อง
- Flashlight Flash Alert On Call ตัวโปรแกรมเตือนให้ Flash มือถือเปิดเมื่อมีสายเรียกเข้า
- Volume Booster Hearing Aid ตัวโปรแกรมปรับเสียงดังเมื่อมีภาวฉุกเฉิน
- Now QR code Scan ตัวโปรแกรมโปรแกรมสแกน QR Code
- Volume Booster Louder Sound Equalizer ตัวโปรแกรมโปรแกรมปรับแต่รูปแบบเสีย
- Emoji One Keyboard ตัวโปรแกรมหลอกเป็น Keyboard Emoji ไม่ต้องกด กดไปบอกลามือถือได้เลย
- Superhero-Effect ตัวโปรแกรมEffect ของเครื่อง
- Smart TV remote ตัวโปรแกรมหลอกเป็นรีโมตควบคุมเครื่อง

มันก็ดูปกติ…ก็บ้าแล้วเพราะโปรแกรมเหล่านี้แหละทำให้คนทั่วดลกถูกมิจฉาชีพหลอกรูดเงินทีละเป็นล้าน ๆเรียกได้ว่าโปรแกรมเหล่านี้มีความใกล้ตัวเราสูงมากกว่าแต่ก่อน ฉะนั้นใครที่มีรายชื่อเหล่านี้สามารถลบออกได้เลย เพราะตอนนี้ไม่สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมเหล่านี้ได้แล้ว
ส่วนข่าวใหญ่ก่อนหน้านี้คือสำหรับมัลแวร์ Joker นั้นมีการรายงานมาตั้งแต่ปี 2021 แล้ว ซึ่งความอันตรายนั้นถือว่ารุนแรงมาก ซึ่งครั้งแรกมีการเปิดเผยโดยนักวิจัยความปลอดภัยจาก Predeo ระบุไว้ว่าพบว่ามีการระบาดใน Apps ใน Google Play Store โดย Apps กลุ่มแรกคือ Color Message ตรวจจับพบเจอ

เรื่อง OTP ก็สำคัญ ถ้าข้อมูลหลุดไปแล้วรหัสหลุดตามก็เตรียมตัวโดนแฮกได้เลยส่วนมากจะไม่โดนเพราไม่บอกมิจฉาชีพแต่ถ้าบอกคือจบซึ่งตัว Color Message เป็นกลุ่ม Application ที่เข้าถึงการปรับแต่ง SMS ตามใจชอบแล้วแต่ผู้ใช้งาน หรืออาจจะมีโปรแกรมรูปแบบอื่นบ้างแล้ว เป้าหมายของ Joker นั้นคือกลุ่มที่กดซื้อของใน Apps หรือกด Subscribeและแอบสมัครโดยจำลองการกดและแทรกข้อมูล เท่ากับสามารถขโมยข้อมูล SMS, รายชื่อ, ข้อมูลภายในและอาจจะเป็นรหัสสำคัญได้
แม้มันอาจจะเป็นเรื่องไกลตัวแต่โดนมาก็ไม่สนุกแน่และมีการอธิบายว่า Joker เป็นมัลแวร์ที่ตรวจสอบได้ยากเพราะใช้ Code ที่เล็กน้อยแต่แอบได้มิดและซ่อนตัวตนหลัง icon ได้แม้ว่า Google จะลบกลุ่มของ Color Message ไปแล้วแต่การปรากฏรายชื่อทั้งหมดนี้มันก็ทำให้รู้ว่ามันยังไม่ปลอดภัยนั่นเอง สล็อต เว็บตรงไม่ผ่านเอเย่นต์ เล่นพนันออนไลน์ ไม่มีขั้นต่ำ